ยื่น คลอด บุตร ประกัน สังคม ภายใน กี่ วัน

บนไดอลมเนยม-7-ขน-ราคา
May 12, 2022, 7:56 pm

Click to rate this post! [Total: 5207 Average: 5] ประกันสังคมคลอดบุตร มาตรา 33 มาตรา 33 คือ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตนลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตนอยู่แล้วตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์และยังเป็นลูกจ้างของนายจ้างอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าลูกจ้างนั้นเป็นผู้ประกันตนต่อไป เป็นกฎหมายตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ.

ส่งเงินสมทบประกันสังคมกี่เดือน ถึงจะใช้สิทธิได้ ? Mekha News (มีค่านิวส์) : เว็บไซต์ข่าว ที่จะนำเสนอข่าวสารเพื่อรักษาสิทธิให้กับคุณ

1-03/1) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ลูกจ้างเข้าทำงาน *** กรณีกิจการเป็จเจ้าของคนเดียว เจ้าของกิจการคือนายจ้างไม่สามารถขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนได้ ข้อมูล ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2556 ที่มา ประกันสังคม Did you enjoy this post? Why not leave a comment below and continue the conversation, or subscribe to my feed and get articles like this delivered automatically to your feed reader.

กรณีชราภาพ ประโยชน์ทดแทนจะจ่ายเมื่อผู้ประกันตนอายุ 55 ปีบริบูรณ์ และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง หรือเสียชีวิต หรือ เป็นผู้ทุพพลภาพ โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เงินบำเหน็จชราภาพ เป็นเงินก้อนที่จ่ายครั้งเดียวจบ เงินบำนาญชราภาพ เป็นเงินที่จ่ายทุกเดือนตลอดชีวิต ทั้งนี้ การจะได้รับเงินก้อนหรือเป็นรายเดือนขึ้นอยู่กับระยะเวลาการส่งเงินสมทบ 7. กรณีว่างงาน ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบครบ 6 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนใช้สิทธิ โดยแบ่งเป็น กรณีถูกเลิกจ้างรับ 70% ของค่าจ้าง เป็นเวลา 200 วัน กรณีลาออกรับ 45% ของค่าจ้าง เป็นเวลา 90 วัน ที่มา: สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์

ถาม: ส่งเงินสมทบประกันสังคมกี่เดือน ถึงจะใช้สิทธิได้? ตอบ: นายชลอ ลิ้มศิริ นักวิชาการแรงงานชำนาญการพิเศษ สำนักงานประกันสังคม แจ้งสิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา 33 ต้องส่งเงินสมทบประกันสังคมระยะเวลาเท่าใด จึงจะสามารถใช้สิทธิ 7 กรณีได้ 1. กรณีเจ็บป่วย ผู้ประกันตนจะได้รับสิทธิเมื่อจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนเดือน ที่รับบริการทางการแพทย์ 2 กรณีคลอดบุตร ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบครบ 5 เดือน ภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนคลอดบุตร มีสิทธิเบิกค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 15, 000 บาท และเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย ระยะเวลาหนึ่งเดือนครึ่ง หากเป็นผู้ประกันตนชายยื่นเบิก จะได้รับเพียงค่าคลอดบุตรเหมาจ่ายเท่านั้น 3. กรณีสงเคราะห์บุตร ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบครบ 12 เดือน ภายใน 36 เดือน (3 ปี) เบิกได้คราวละไม่เกิน 3 คน ๆ ละ 800 บาทต่อเดือน และบุตรอายุต้องไม่เกิน 6 ปีบริบูรณ์ 4. กรณีทุพพลภาพ ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบ 3 เดือนภายใน 15 เดือน โดยจะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ร้อยละ 50 เป็นรายเดือนตลอดชีวิต 5. กรณีเสียชีวิต ผู้ประกันตนต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 เดือน ก่อนเดือนถึงแก่ความตาย ทายาทได้รับค่าทำศพเหมาจ่าย 50, 000 บาท เงินบำเหน็จกรณีเสียชีวิต ตามระยะเวลาจ่ายเงินสมทบ เงินสงเคราะห์กรณีเสียชีวิต ตามระยะเวลาจ่ายเงินสมทบ 6.

คำสำคัญ "เพชรเวช" คือ คำที่ใช้เรียกแทนผู้ให้บริการผ่านทางเว็บไซต์โรงพยาบาลเพชรเวช () "ข้อมูลส่วนตัว" คือ รหัสประจำตัว (Username) และรหัสผ่าน (Password) รวมไปถึงอีเมล เบอร์โทรศัพท์ และผลจากการตรวจสุขภาพของท่าน บริการในเว็บไซต์ บริการนัดหมายแพทย์ บริการค้นหารายชื่อแพทย์ บริการชำระค่าแพ็กเกจ เช็กสิทธิ์ประกันสังคม บริการอื่น ๆ ที่อาจเพิ่มเติมในภายหลัง การสมัครสมาชิกเว็บไซต์ 1. ทางเพชรเวชขอแจ้งให้ผู้ใช้บริการทุกท่านทราบว่าท่านจะสามารถใช้บริการผ่านเว็บไซต์เพชรเวช () ได้โดยไม่จำเป็นต้องสมัครสมาชิก หากท่านต้องการได้รับประโยชน์และประสบการณ์ในการใช้บริการได้อย่างเต็มที่ทางเราแนะนำให้ท่านลงทะเบียนเป็นสมาชิกของทางเว็บไซต์เพชรเวช 2. ในขั้นตอนการกรอกแบบฟอร์มการสมัครสมาชิกเว็บไซต์เพชรเวช โดยท่านจะต้องกรอกข้อมูลตามความเป็นจริง โดยท่านจะต้องยอมรับข้อกำหนดและข้อตกลงในการใช้บริการ โดยการกดปุ่ม "ยอมรับ" เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนต่อไป หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลส่วนตัวใด ๆ ขอให้ท่านเปลี่ยนแปลงข้อมูลดังกล่าวจากปุ่ม "ข้อมูลส่วนตัว" หรือ "Member Profile" การลงทะเบียนขอเปิดบัญชีแทนบุคคลอื่นเป็นผู้รับบริการทางการแพทย์ 3.

ประกันสังคม สำหรับ บริษัทเปิดใหม่ ลุูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องทำอะไรบ้าง | Great Account And Consultant

ยื่น คลอด บุตร ประกัน สังคม ภายใน กี่ วัน ออนไลน์

อ่านสั้นๆ ประโยชน์ที่เจ้าของธุรกิจจะได้รับจากประกันสังคม หนึ่งในนั้นคือการสร้างความเชื่อมั่นให้กับธุรกิจ เมื่อพนักงานกำลังตัดสินใจเลือกเข้าทำงาน หากธุรกิจเรามีพนักงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องขึ้นทะเบียน 2 ชุดคือ 1. ขึ้นทะเบียนนายจ้าง ซึ่งปัจจุบัน ได้รับการขึ้นทะเบียนโดยอัตโนมัติพร้อมการจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลต่อกรมธุรกิจการค้า 2.

  1. เงินประกันสังคมค่าคลอดบุตรกี่วันเข้าค่ะ เงินประกันสังคมค่าคล
  2. การรักษาสิทธิประกันสังคมหลังลาออกควรทำอย่างไร | จ๊อบส์ดีบี ประเทศไทย
  3. หอพักหญิง แม่โจ้เฮ้าส์ ซ.สหกรณ์นิคม 9 ถ.เชียงใหม่-พร้าว | RentHub.in.th
  4. Schlagwerk cajon ราคา
  5. ยื่น คลอด บุตร ประกัน สังคม ภายใน กี่ วัน เดือน

1-10 (ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2) กรอกรายละเอียดในแบบ สปส. 1-10 (ส่วนที่ 1) ให้ครบถ้วนถูกต้อง กรอกรายละเอียดในแบบ สปส. 1-10 (ส่วนที่ 2) ประกอบด้วย – เลขประจำตัวประชาชน ต้องกรอกให้ครอบถ้วนทุกราย – ชื่อ-ชื่อสกุลของผู้ประกันตนพร้อมคำนำหน้าชื่อที่ชัดเจน – ค่าจ้างให้กรอกค่าจ้างตามที่จ่ายจริง – กรอกรายงานเงินสมทบที่นำส่ง โดยคำนวณเงินสมทบค่าจ้างใน (3) หากได้รับค่าจ้างต่ำกว่า 1, 650 บาท ให้คำนวณจาก 1, 650 บาท แต่ถ้าได้รับค่าจ้างเกิน 15, 000 บาท โดยคูณกับอัตราเงินสมทบที่ต้องนำส่ง สำหรับเศษของเงินสมทบที่มีจำนวนตั้งแต่ห้าสิบสตางค์ขึ้นไปให้ปัดเป็หนึ่งบาท ถ้าน้อยกว่าให้ปัดทิ้ง 1. นำส่งเงินสมทบด้วยสื่อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ – กรอกรายละเอียดในแบบ สปส. 1-10 (ส่วนที่ 1) ให้ครบถ้วนถูกต้อง – จัดทำข้อมูลตามแบบ สปส. 1-10 (ส่วนที่ 2) ในสื่อข้อมูล (Diskette) หรือส่งผ่านทาง Internet – ขอรับโปรแกรมหรือ Format ข้อมูลเงินสมทบได้ที่สำนักงานประกันสังคมทุกแห่ง หรือ Download ได้ที่ กรณีสถานประกอบการมีสาขาและประสงค์ยื่นรวมให้จัดทำแบบ สปส. 1-10/1 ซึ่งเป็นใบสรุปรายกรแสดงการส่งเงินสมทบของแต่ละสาขาที่ยื่นพร้อมแบบ สปส. 1-10 ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 ของแต่ละสาขา นำส่งเงินสมทบ สำหรับค่าจ้างประจำเดือนจะต้องนำส่งภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยนำส่งที่ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) หรือสำนักงานประกันสังคมทุกแห่ง ที่สถานประกอบการตั้งอยู่หรือชำระเงินสมทบด้วยระบบ e-payment ของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ธนาคารซิตี้แบงค์ จำกัด (มหาชน) ธนาคารซูมิโตโมมิตซุย คอร์ปอเรชั่น จำกัด และธนาคารมิซูโฮ คอร์ปอเรต จำกัด ที่ บทกำหนดโทษ กรณีนายจ้างกรอกแบบแสดงการส่งเงินสมทบ (สปส.

1-01) แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03) สำหรับผู้ที่ไม่เคยขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนมาก่อนหรือแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03/1) สำหรับผู้ที่เคยขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนแล้วโดยนายจ้างที่มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นแบบได้ที่ สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ สำหรับนายจ้างที่มีสำนักงานใหญ่ในส่วนภูมิภาคให้ยื่นแบบขึ้นทะเบียนได้ที่ สำนักงานประกันสังคมจังหวัดที่สถานประกอบการตั้งอยู่ จะนำส่งเงินสมทบอย่างไร นายจ้างจะต้องหักเงินสมทบในส่วนของลูกจ้างทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้างและนำ ส่งเงินสมทบส่วนของนายจ้างในจำนวนเท่ากับที่ลูกจ้างทั้งหมดถูกหักรวมกัน พร้อมจัดทำเอกสารตามแบบ สปส. 1-10 ส่วนที่ 1 และ สปส. 1-10 ส่วนที่ 2 หรือจัดทำข้อมูลลงแผ่นดิสเก็ต หรือส่งทางอินเตอร์เน็ต โดย: นำ ส่งสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด ด้วยตนเอง หรือทางไปรษณีย์ เป็นเงินสดหรือเช็ค ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป หรือ ชำระเงินผ่านธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ธนาคารธนชาต สาขาในจังหวัดที่สถานประกบอการตั้งอยู่ การนำส่งเงินสมทบมี 2 วิธี คือ นำส่งเงินด้วยแบบ สปส.